BossKerati ยูทูปเบอร์ใช้เทคโนโลยี A.I. Vision นับหยดน้ำว่า น้ำ 1 ขวด มีกี่หยดด้วย Computer Vision

ภายในวิดิโอการทดลองคุณบอส จะถ่ายวิดิโอการทดลอง การนับหยดน้ำ เเละ ส่งไปให้ผู้เชียวชาญด้าน A.I. เค้าช่วยใช้โค้ด โปรเเกรมนับการตกของหยดน้ำโดยจะใช้โปรเเกรม ที่ไม่จำเป็นใช้ A.I. อะไรมากมาย ใช้เเค่ “อัลกอรริทึม ธรรมดา” ดังนี้คือ เริ่มจากใช้วิดิโอ Video มาใช้ร่วมกับ Computer Vision ในการตรวจจับ เเละเราใช้วิธีดูว่า ส่วนไหนของวิดิโอมีการขยับ มีการเปลี่ยนเเปลง โดยจะใช้วิธีคิดหรืออัลกอริทึมเเบบนี้ คือ 1.เอาส่วนที่มีการขยับเนี่ยเป็น สีขาว 2.เเล้วส่วนอื่นปล่อยให้ เป็น สีดำ จะออกมาเป็นเเบบนี้ ใน Computer Vision เเละเราก็จะสามารถดูได้ว่าบริเวณที่หยดน้ำหยดเนี่ยมีการขยับรึเปล่า 3.เเละดูค่าเฉลี่ยของบริเวณ นั้นว่ามีความสว่างเท่าไหร่ อย่างเช่น ถ้ามันไม่มีการขยับเลยก็จะเป็นมืด  หรือ ว่าถ้ามีการขยับก็จะเป็นสว่างเเบบนี้ เเล้วเราก็ทำเเบบนี้ไปเรื่อยๆ นับจนจบคลิป จากข้างต้นที่มีการคิดเป็นระบบ จนเป็น อัลกอริทึม เป็นทักษะการคิดเชิงคำนวณ Computational Thinking เพราะ วงการโปรเเกรมเมอร์ มักถูกสอนต่อมากันมาว่า โปรแกรมจะประกอบด้วยขั้นตอนอะไรบ้างซึ่งอาศัยหลักการคิดแบบ Computational […]

Support Team Codekids

15 November 2020

ส่องการศึกษา “โค้ดดิ้ง” เด็กในประเทศไทยเรียนอะไรบ้างในชั้นประถมศึกษา?

รู้หรือไม่? ตั้งแต่นี้ต่อไปเราจะมีโค้ดดิ้งสอนในโรงเรียนทั่วไปแล้วให้เด็กเริ่มเขียนโปรแกรมแล้วนะโดยชื่อว่าวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ หรือ (Computing Science) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ – (ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) และหลักสูตร วิทยาการคำนวณ หรือ Computing Science เพิ่งออกมาครบเมื่อ 2 ปีกว่าๆคือ พฤษภาคม 2561 : ป.1, ป.4 และ ม.1, ม.4 พฤษภาคม 2562 : ป.2, ป.5 และ ม.2, ม.5 ปีนี้ 2563 : ป.3, ป.6 และ ม.3, ม.6 ก่อนจะไปดูการศึกษาโค้ดดิ้งของประเทศไทยเราลองมาดูการศึกษาโค้ดดิ้งในแต่ละประเทศอัปเดตล่าสุดกันก่อนคร่าวๆ อเมริกาทุกรัฐเรียนเขียนโค้ดกันหมดพร้อมกับมี Robot ที่ใช้สอนคือ Cubetto และ Dash and Dot มีคลาสออนไลน์ที่ชื่อว่า Code.org, Google […]

Support Team Codekids

14 November 2020

Coding โค้ดดิ้ง คืออะไร เหตุผลว่าทำไมเด็ก 7-13 ปี ควรเรียนเขียนโปรแกรม

เด็กๆต้องเรียน Coding โค้ดดิ้งเพราะในอีก 3-4 ปี ข้างหน้าเมื่อ A.I. และ 5G เข้ามามีบทบาทมากขึ้นความต้องการทรัพยากรบุคคลหรือที่เรียกว่า “โปรแกรมเมอร์” จะมีเพิ่มมากขึ้นปัจจุบันหากใครที่จบทางด้านการเขียนโปรแกรมสามารถเรียกเงินเดือนเริ่มต้น 30,000 บาท (ตามความสามารถของการเขียนโปรแกรมที่ถนัด เพราะฉะนั้นถ้าศึกษาทางด้านการเขียนโปรแกรมสามารถมีโอกาสและเป็นแต้มต่อให้กับเด็กในการทำงานนในอนาคตได้ดี ปัจจุบันตอนนี้ทางระบบการศึกษาได้นำหลักสูตรการเขียนโปรแกรมเพิ่มเข้าไปในบทเรียนเรียบร้อยแล้วตั้งแต่ระดับประถม-จนถึงมัธยม (ปกติต้องเรียนปริญญาตรี) โดยให้ความสำคัญกับหัวใจหลักของ Coding (การโค้ดดิ้ง) คือ การเขียนสัญลักษณ์เพื่อบอกลําดับขั้นตอน ลําดับความคิดและสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ อาทิ การแต่งเพลง วางลําดับตัวโน๊ตดนตรี การออกแบบ ลําดับคำสั่ง ซึ่งจะช่วยให้เด็กๆได้เรียนรู้การเขียนโปรแกรมแบบมีลําดับการวางแผน การเขียน (flow chart) เป็นต้น Coding (โค้ดดิ้ง) คือ ประเทศไทยเราจะเรียกอีกอย่าง คือ “วิทยาการคำนวณ” โดยเด็กๆอายุระหว่าง 7-13 ปีควรเรียนไว้เพราะ CEO Google คุณ Sundar Pichai กล่าวถึงความสำคัญของ Coding (โค้ดดิ้ง) ว่า “เราอยากให้เด็กๆ ทุกคนบนโลกตื่นเต้น กับความเป็นไปได้ […]

Support Team Codekids

7 November 2020

ทำไมโครงสร้างสมองถึงมีความสำคัญมากกว่าการเรียนโค้ดดิ้ง

เคยไหมที่เจอปัญหานี้ – สอนไม่เข้าใจ– ทำไมนักเรียนไม่ฟัง– ยิ่งสอนเรื่องที่ต้องทำความเข้าใจยากอย่าง coding ดูยากไปกันใหญ่ คำตอบอย่างเดียวเลยค่ะ คือ เราต้องรู้จิตวิทยาเด็กและโครงสร้างสมองเด็กเราเอง ครูเอง อาจจะเคยผ่านช่วงอายุ 7 ขวบแต่เด็กไม่เคยผ่านอายุ 20 เหมือนเรา เราไม่สามารถเอาประสบการณ์ของเรา เปรียบเทียบกับประสบการณ์ของเด็กบางครั้งเราอาจจะรู้สึกว่า– ทำไมสอนเท่าไหร่ไม่เข้าใจ– ทำไมไม่คิดแบบนี้– ทำไมคิดเองไม่ได้เพราะเด็กไม่มีประสบการณ์เท่าเราค่ะ หากลองเปรียบเทียบกับการสอน Coding เราคงไม่สามารถเอาเนื้อหาการสอนของมหาลัยมาใช้กับเด็กประถมหรือหากเป็นหลักสูตรเด็กประถมต่างประเทศก็ต้องกลับมาดูด้วยว่าจะเหมาะสมกับเด็กอายุเท่าไหร่เมือเทียบกับเด็กไทยเพื่อมีมาตรฐานและดึงศักยภาพเด็กออกมาให้ถูกจุด ทุกครั้งที่ทีมงาน CodeKids เขียนหลักสูตร ทีมงานมีเช็คลิสต์คำถามเพื่อตอบเป้าหมายของผู้สอนและเด็ก สิ่งที่ต้องมีคือ1. เด็กอายุเท่าไหร่2. โครงสร้างสมองเด็กช่วงนี้เป็นอย่างไร3. ทั่วโลก เมื่อเทียบกับอายุเท่านี้ เค้าเรียนอะไรไปบ้างแล้ว4. เด็กต้องมีพื้นฐานอะไร ถ้าไม่มีต้องเพิ่มอย่างไร ถ้าเคยเรียนแล้วต้องมีระบบเทสอะไรบ้าง5. แล้วทำอย่างไรต้องสนุก6. ถ้าไม่สนุกต้องมีแผนสำรองอะไร7. สำคัญคือ ทำไมเด็กต้องเรียน แล้วเรียนจะได้อะไรนี่คือสิ่งที่เกิดขึ้น!! ขอยกตัวอย่างในการสอนหลักสูตร Computer Science ร่วมกับ Match House นะคะโจทย์ค่อนข้างยากคือสอน Coding อายุ 8 และ 13 ปี […]

Support Team Codekids

7 October 2020

สอนเด็กเรียนเขียนโปรแกรมวัยอนุบาล-ประถม โดยอัลกอริทึม

สอนเด็กวัยอนุบาล-ประถมเรียนเขียนโปรเเกรม เข้าใจการเขียนโปรแกรม หรืออัลกอริทึมอย่างไรบ้าง? เราจะสอนเด็ก เรียนเขียนโปรแกรมสอน หรืออัลกอริทึมอย่างไรบ้าง ตัวอย่างสามารถเอาไปสอนได้ที่บ้านและโรงเรียน ทีมงาน Codekids ได้มีโอกาสเข้าไปสอนการเขียนโปรแกรมให้กับครูอนุบาล เเละสอนเด็กเรียนเขียนโปรแกรม กับทั้ง คุณครูประถมต้น ในวิชา วิทยาศาสตร์, คอมพิวเตอร์และ STEM..นอกจากเราจะสอนเรื่องเทรนด์ กระแสการศึกษาแต่ละประเภท อัพเดตการสอนพร้อมกับสื่อการสอนที่เหมาะสมกับน้องๆ..มีช่วงนึงในการทำ Work shop สอนเรื่อง Debug กับ อัลกอริทึม มีคุณครูถามว่า ” เราจะสอนเรื่องอัลกอริทึ่มกับเด็กได้อย่างไรโดยเฉพาะอนุบาลและประถม “ อ้อมจึงตอบว่า “เอาเรื่องใกล้ตัวค่ะ” อย่างเช่น การแปรงฟันตอนเช้า ”คราวนี้อ้อมเลยลองวาดอัลกอริทึ่มบนจอเรามาดูวิธีการสอนกันดีกว่าค่ะว่าจะทำอย่างไรบ้าง แต่มีวิธีการคือ1. เริ่มถามเด็กๆว่า ถ้าเราต้องแปรงฟันตอนเช้าเราต้องเตรียมอะไรบ้างเด็กๆอาจจะตอบว่าแปรงสีฟัน, ยาสีฟัน, แก้วน้ำพับผ้าห่ม ตื่นนอนแล้วแต่เด็กว่าเค้าจะเสนออะไร แล้วเราค่อยถามเด็กๆว่า ต้องเริ่มความสำคัญอะไรก่อน ลองดูจากตัวอย่างค่ะ 2. ทำความเข้าใจเรื่องสัญลักษณ์องค์ประกอบมีจุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด– input การใส่ค่า– output การแสดงผล– process การประมวลผล– decision การตัดสินใจ– flow […]

Support Team Codekids

7 October 2020

เรามาทำความรู้จัก scratch 3.0 กัน!! ว่าคืออะไร

รู้จักโปรแกรม scratch scratch คือ อะไร ? อ่านว่า (อ่านว่า สแครช) เป็นโปรแกรมภาษาแบบ แบบ block programming (แบบลาก-วาง) เพื่อให้ตัวละครสนทนาเคลื่อนที่ และวาดรูปได้ โดยจัดเรียงคำสั่งตามลำดับขั้นตอน (sequential) เป็นสื่อหนึ่งที่สร้างภาพให้เห็นการทำงานเป็นขั้นตอนและวิธีการคิดแก้ปัญหาที่เป็นระบบ ซึ่งเป็นผลจาก “Computational Thinking” ผู้เรียนสามารถสร้างชิ้นงานได้อย่างง่ายเช่น – นิทานที่สามารถโต้ตอบกับผู้อ่านได้ – ภาพเคลื่อนไหว – เกมดนตรี – และศิลปะ และเมื่อสร้างเป็นชิ้นงานเสร็จแล้วสามารถนำชิ้นงานที่สร้างสรรค์นี้แสดง แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่นบนเว็บไซต์ได้ ทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้หลักการทางคณิตศาสตร์ และแนวคิดการโปรแกรมไปพร้อมๆ กับการคิดอย่างสรรค์สรรค์ มีเหตุผล เป็นระบบ และเกิดการทำงานร่วมกัน เพื่อให้ตอบโจทย์ศตวรรษที่ 21 คือประโยชน์ที่เด็กจะได้รับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะในหลัก 4Cs ได้แก่ 1.Creativity คิดสร้างสรรค์ แก้ได้กี่วิธีบ้าง เปิดโอกาสให้เด็กคิด 2.Critical Thinking การคิดอย่างมีเหตุผล 3.Collaboration ทำงานร่วมกับเพื่อนเพื่อแก้ปัญหากันเป็นทีม […]

Support Team Codekids

7 October 2020

สอนสร้างเกม 7-10 ขวบ coding โดยเกมกำจัดไวรัส ด้วย scratch

ภาพตัวอย่างโปรเเกรม : เอาหล่ะเรามาเริ่มกับ : ขั้นตอนที่ 1 เราต้องมาสร้างตัวละคร ของเราก่อนใน สเเครช เราจะเรียก Character หรือตัวละคร ต่างๆ ว่า “สไปรต์” ทำการขยับตำเเหน่งของ คุณพยาบาลของ ไว้ตำเเหน่งที่เราชอบได้ โดยการคลิกเลือก ที่รูปสไปรต์ ที่นี้เราจะใช้เเค่ สไปรต์ ของพี่พยาลคนเดียว เราสามารถ เลือกสไปรต์เเละสังเกตไอคอน รูปถังขยะ สามารถคลิกเเละลบได้เลย ขั้นตอน 2 ต่อมาคือ มาตกเเต่ง ตัวละครเเละฉากของเรากัน สามารถทำได้เลยโดย คลิกที่ “เมนู คอสตูม” ถัดจากเมนูที่ทำใช้โค้ด สามารถวาดภาพ หรือ ตกเเต่ง ตามจินตการของน้องๆ ได้เลย เเล้วเราจะนำตัวคนนี้เเหละไปโค้ดกันต่อ ใช้เครื่องมือ ในเเทบฝั่งขวาเป็นตัวช่วยในการวาด เเละ ตกเเต่งสีต่างๆ ตกเเต่งให้เราสถานการณ์ กัน เพราะ Story telling ของเราคือ “เกมกำจัดไวรัสโคโรน่า” ต่อมาทำต้องมาเพิ่ม […]

Support Team Codekids

26 September 2020

โค้ดดิ้ง 3 Item ช่วยพัฒนาสมาธิการจดจำให้กับเด็กๆ โดยไม่ต้องใช้คอม

คลื่นไฟฟ้า อาจส่งผลอันตรายต่อลูกของคุณได้สำหรับเด็กยุคศตวรรษที่ 21 การใช้งานโทรศัพท์มือถือ 10 ปีหรือนานกว่า (หรือ > 1640 ชั่วโมง) ผู้ปกครองหลายคนมักจะให้ลูกหลาน อยู่กับโทรศัพท์ มือถือสมาร์ทโฟนเเท็บเล็ต มากเกิน 2-3 ชั่วโมงต่อ/วัน รู้ไหมค่ะจากผลวิจัยเเสงของหน้าจอ ทำให้เด็กสมัยนี้ มีสมาธิที่สั้นลงเพราะมีการส่งคลื่นไฟฟ้าผ่านทางการมองเเสงจากหน้าจอส่งมาถึงสมองของเด็กได้ จากผลวิจัยที่ออกมา การใช้โทรศัพท์มือถือ การใช้คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตมีรายงานการศึกษาว่ามีผลต่อปัญหาสุขภาพจิตและการเรียนรู้ (Psychological and Cognitive behavior) จากผลการศึกษาของ Cristina J. และคณะในปี 2007 ทำการศึกษา Problematic internet and cell-phone โดยใช้แบบวัดที่ได้พัฒนาขึ้นมาชื่อ the Internet Over-use Scale (IOS), and the Cell-Phone Over-Use Scale (COS) และหาความสัมพันธ์ของปัญหาสุขภาพจิต โดยแบบวัดซึมเศร้า และแบบวัดวิตกกังวลของ Beck (Beck Depression Inventory) […]

Support Team Codekids

9 September 2020

โค้ดดิ้ง 3 รูปเเบบ Program ในชีวิตประจำวันที่ต้องเจอ

รู้ไหมค่ะว่าโปรเเกรมที่เราใช้กับอยู่ทุกวันนี้ มีกี่ประเภท กี่รูปเเบบ ? เเละเคยสังเกตไหมค่ะว่า ในชีวิตประจำวันเรานั้นโปรเเกรมต่างๆ มีบทบาทสำคัญสำหรับเรามากเเค่ไหน เเละการเรียนเขียนโปรเเกรม เหล่านี้มันสำคัญ อย่างไร ? ประเภทของโปรเเกรม เเบ่งออกเป็น 3 รูปเเบบ คือ 1. Desktop Application โปรเเกรมที่ทำงานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป กลุ่มนี้มีอะไรบ้าง โปรเเกรมส่วนใหญ่ที่เราจะเห็นเป็น โปรเเกรม Private ออกแบบมาเพื่อบริษัทนั้นๆ โดยเฉพาะ อาทิ – โปรเเกรมธนาคาร – โปรเเกรมในอุตสาหกรรม สำหรับบริษัทของตัวเองโดยจะ จ้างโปรเเกรมเมอร์สร้างขึ้นเฉพาะเพื่อมาใช้งานกับธุรกิจที่สามารถเห็นกันในชีวิตประจำวันแถมเป็นประโยชน์อีกด้วย เช่น โปนเเกรมชุด Microsoft office เช่น Word, Excel, PowerPoint ที่เราใช้กันเป็นประจำ 2. Web Application โปรเเกรมที่ทำงานผ่านทางเว็บ Browser กลุ่มนี้มีอะไรบ้างยกตัวอย่าง โปรเเกรมส่วนใหญ่ ที่เรารู้จักเเละใช้งานกันบ่อยๆ ก็คือ Google Chome ,Safari, Yahoo! […]

Support Team Codekids

9 September 2020

Coding โค้ดดิ้ง เทคโนโลยีช่วยให้เรารู้อะไรบ้าง ?

มาแชร์ประสบการณ์ สืบเนื่องจากอ้อม ที่อยู่เชียงใหม่ 1 อาทิตย์ เพราะมาทำภารกิจพัฒนาความ Productive เลยได้มีโอกาสทดลองสิ่งใหม่ๆ อย่างแรกคือ การนั่งสมาธิโดยมีเครื่อง Muse เพื่อตรวจวัดคลื่นสมอง และการนั่งสมาธิแบบลึก เช่น เมื่อไหร่ที่เรานั่งสมาธิ แล้วนิ่งมากจะมีเสียงนกร้อง อ้อมได้ทดลองไปที่เงียบ แต่มีเสียงรบกวนบ้าง ปรากฏว่าภายใน 3 นาทีสามารถจับนกได้ 21 ตัว ในขณะที่บางช่วงมีเสียงรบกวน คลื่นเสียงดีดขึ้น และกลับมาที่เดิม การมีเทคโนโลยีแบบนี้จะช่วยให้เรารู้จักตัวเองมากขึ้น เพราะเราสามารถมีข้อมูลในการเปรียบเทียบ และข้อมูลเหล่านี้สามารถทำให้เราพัฒนาตนเองในจุดที่เราอยากจะไปในอนาคต เราไม่ได้แค่บอกแล้วว่าฉันต้องเก่งอย่างนั้น ฉันทำได้แบบนี้ แต่เราจะเอาผลลัพธ์ จะเอา Data มานั่งกางเลยว่า เราสามารถทำแบบนั้นได้จริงหรือไม่โดยที่เมื่อก่อน เราเชื่อในเรื่องการพัฒนาตนเอง แต่มันต้องใช้เวลา และก็ไม่รู้ว่าสิ่งที่เราทำถูกต้องหรือไม่ หรือสามารถทำได้ขนาดไหน เช่น “เราต้องการเปิดห้างสรรพสินค้าที่ไหนสักที่ เราไม่รู้ว่าต้องใช้เงินเท่าไหร่ เมื่อไหร่จะคืนทุน และจะต้องมีลูกค้าเท่าไหร่ต่อวันเพื่อให้เกิดยอดขาย เราอาจจะต้องทดลองสักเดือนเพื่อทดลองการขายในครั้งนี้” และเราต่างก็ใช้คำว่า “ความน่าจะเป็น” ต้องรอให้ทำก่อนถึงรู้ว่าถูกหรือไม่ และสิ่งเหล่านี้อาจจะต้องใช้เวลา ไม่เพียงแต่ที่ต้องใช้เวลา แต่ต้องเสียเงินไปด้วยหากการที่มี Data (ข้อมูล) แบบละเอียดและ […]

Support Team Codekids

9 September 2020
1 4 5 6 7 8 10